เมนู

10. เสกขติกะ


ปฏิจจวาระ


อนุโลมนัย


1. เหตุปัจจัย


[1173] 1. เสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นเสกธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
2. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกธรรม เกิด
ขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเสกธรรม.
3. เสกขธรรม และเนวเสกขธรรม อาศัย
เสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

[1174] 4. อเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
เหตุปัจจัย

คือ ฯลฯ อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นอเสกขธรรม ฯลฯ
5. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม ฯลฯ
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอเสกขธรรม.

6. อเสกขธรรม และเนวเสกขานาธรรม อาศัย
อเสกขธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นอเสกขธรรม
ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
[1175] 7. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ

คือ ขันธ์ 3 และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นเนวเสกขานา-
เสกขธรรม. ขันธ์ทั้งหลายอาศัยหทยวัตถุ. มหาภูตรูป 3 อาศัยมหาภูตรูป 1
ฯลฯ มหาภูตรูป 2 อาศัยมหาภูตรูป 2. จิตตสมุฏฐานรูป กฏัตตารูป ที่เป็น
อุปาทานรูปอาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.
[1176] 8. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม และ
เนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเสกธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย
[1177] 9. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยอเสกขธรรม
และเนวเสกขานาเสกธรรม เกิดขึ้น เพระเหตุปัจจัย

คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นอเสกขธรรม และมหาภูตรูป
ทั้งหลาย.

2. อารัมมณปัจจัย ฯลฯ 11. อาเสวนปัจจัย


[1178] 1. เสกขธรรม อาศัยเสกขธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อารัมมณปัจจัย, เพราะ อธิปติปัจจัย
ปฏิสนธิ ไม่มี.
เพราะ อนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะ สห-
ชาตปัจจัย
พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.
เพราะ อัญญมัญญปัจจัย เพราะ นิสสยปัจจัย เพราะ อุป-
นิสสยปัจจัย เพราะ ปุเรชาตปัจจัย เพราะ อาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นเสกขธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2 ฯลฯ
[1179] 2. เนวเสกขานาเสกขธรรม อาศัยเนวเสกขานา-
เสกขธรรม ฯลฯ เพราะอาเสวนปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นเนวเสกขานาเสกธรรม ฯลฯ ขันธ์ 2
ฯลฯ

12. กัมมปัจจัย 13. วิปากปัจจัย


เพราะ กัมมปัจจัย เพราะ วิปากปัจจัย

คือ ขันธ์ 3 อาศัยขันธ์ 1 ที่เป็นเสกขธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ฯลฯ ขันธ์
2 ฯลฯ มี 3 วาระ พึงใส่ให้เต็ม. (3 วาระเหมือนข้อ 1173)